ติดตามเรื่องราวการรุกรานของ “ปลาหมอคางดำ” ปลาสายพันธุ์ท้องถิ่นจากแอฟริกา ต้นตอการแพร่ระบาดน่าจะมีทางไหนบ้าง ทำไมถึงหลุดรอดไปได้ วิธีการกำจัดแบบใดที่มีความเป็นไปได้ การพิสูจน์หาต้นตอยังจำเป็นไหมสำหรับเคสของปลาหมอคางดำ และสถานการณ์การระบาดนี้ สะท้อนให้เห็นถึงต้นตอปัญหาที่ประเทศไทยต้องคิดและมีแนวทางอย่างไร?

ศาสตราจารย์ ดร. สุชนา ชวนิชย์ รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ ในฐานะ นักวิชาการผู้ทำการศึกษาและวิจัย “สัตว์ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น” (Alien Species) มานานกว่า ๒๐ ปี  ได้ เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจผ่านสื่อสารมวลชน ในเรื่อง การแพร่กระจายของ "ปลาหมอคางดำ" ซึ่งกำลังเป็นกระแสข่าวอยู่ในขณะนี้ ดังต่อไปนี้

       ๑) ให้สัมภาษณ์ออกอากาศ ในช่วง จับตาสถานการณ์ หัวข้อข่าว นักวิชาการระบุ "ปลาหมอคางดำ" เกินกว่าจะควบคุมแล้ว ทาง ช่อง ThaiPBS เมื่อวันอังคารที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๗

การบรรยายภาคทฤษฎี
การบรรยายภาคทฤษฎี
ฝึกใช้งานเครื่อง FlowCAM
ฝึกปฎิบัติใช้เครื่อง FlowCAM
ฝึกใช้งานเครื่อง FlowCAM
ฝึกใช้งานเครื่อง FlowCAM
ฝึกใช้งานเครื่อง FlowCAM
วิเคราะห์ผลที่ได้จากเครื่อง FlowCAM